จัดโดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร และ สมาคมวิชาการไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ โทรคมนาคมและสารสนเทศประเทศไทย ระหว่างวันที่ 26 – 29 มิถุนายน พ.ศ. 2561 ณ จังหวัดพิษณุโลก
งานประชุมวิชาการ ECTI-CARD 2018 ครั้งที่ 10
จุดมุ่งหมายหลักของการจัดงานเพื่อรวบรวมผลงานวิจัย งานนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ และการพัฒนาเชิงประยุกต์ รวมถึงเพื่อเปิดโอกาสให้นักวิจัย ผู้พัฒนา ผู้ใช้งาน และหน่วยงานต่าง ๆ ได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาการร่วมกัน อีกทั้งสามารถนำผลงานที่ตีพิมพ์ไปพัฒนาต่อยอดในระดับท้องถิ่น ระดับสากล และพัฒนาสู่ผลิตภัณฑ์ในเชิงพาณิชย์ได้
บทความที่ส่งมานั้นจะได้รับการพิจารณาคุณภาพและความสมบูรณ์ของงานโดยผู้ทรงคุณวุฒิ บทความที่ได้รับการคัดเลือกจะได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่อง ECTI-CARD (ECTI-CARD Proceedings) ซึ่งสามารถสืบค้นได้จากฐานข้อมูลของสมาคม ECTI


ทีปานิส ชาชิโย (เกิด มกราคม พ.ศ. 2520) อาจารย์และนักวิทยาศาสตร์สาขาฟิสิกส์
หัวข้อ:
Work
เผยแพร่ตำราและเทปบันทึกการสอน งานวิจัยด้านควอนตัมและฟิสิกส์เชิงคำนวณ
Where
บ้านเกิดอยู่จังหวัดร้อยเอ็ด ชอบเล่นกีตาร์และไวโอลินเป็นชีวิตจิตใจ
Chachiyo's Formula
เป็นคนแรกของประเทศไทย ที่มีชื่อ กำกับอยู่กับสูตรฟิสิกส์ เรียกว่า สูตรชาชิโย หรือ Chachiyo’s Formula ต่อมาปรากฏเป็นเนื้อหาในตำราวิชาฟิสิกส์เชิงคำนวณ (Oxford University Press) เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ หรือถูกนำมาใช้ในงานวิจัย

Graphene/3D Carbon Materials and Its Applications

รศ.ดร. นรเศรษฐ พัฒนเดช จบการศึกษาระดับปริญญาเอกจาก สถาบันไฟฟ้าแรงสูงและการจัดการระบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี กราซ ประเทศออสเตรีย
Research
งานวิจัยทางด้านการประยุกต์ใช้วัสดุฉนวนในงานวิศวกรรมไฟฟ้าแรงสูง การตรวจสอบ ทดสอบ เฝ้าติดตาม วินิจฉัยปัญหาสำหรับอุปกรณ์ไฟฟ้าแรงสูง ฟ้าผ่าและการป้องกัน
Work
ปัจจุบันทำงานที่ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
หัวข้อ "ไฟฟ้าแรงสูง: เรื่องใกล้ตัวที่ควรรู้"

The High-Gain Beamforming for the Fifth-Generation of Mobile Communication System (5G)

ผู้ดำเนินรายการ ดร.นฤดม นวลขาว (มว.)
- Keynote Speakers
-
ทีปานิส ชาชิโย (เกิด มกราคม พ.ศ. 2520) อาจารย์และนักวิทยาศาสตร์สาขาฟิสิกส์
หัวข้อ:
Work
เผยแพร่ตำราและเทปบันทึกการสอน งานวิจัยด้านควอนตัมและฟิสิกส์เชิงคำนวณ
Where
บ้านเกิดอยู่จังหวัดร้อยเอ็ด ชอบเล่นกีตาร์และไวโอลินเป็นชีวิตจิตใจ
Chachiyo's Formula
เป็นคนแรกของประเทศไทย ที่มีชื่อ กำกับอยู่กับสูตรฟิสิกส์ เรียกว่า สูตรชาชิโย หรือ Chachiyo’s Formula ต่อมาปรากฏเป็นเนื้อหาในตำราวิชาฟิสิกส์เชิงคำนวณ (Oxford University Press) เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ หรือถูกนำมาใช้ในงานวิจัย
Graphene/3D Carbon Materials and Its Applications
รศ.ดร. นรเศรษฐ พัฒนเดช จบการศึกษาระดับปริญญาเอกจาก สถาบันไฟฟ้าแรงสูงและการจัดการระบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี กราซ ประเทศออสเตรีย
Research
งานวิจัยทางด้านการประยุกต์ใช้วัสดุฉนวนในงานวิศวกรรมไฟฟ้าแรงสูง การตรวจสอบ ทดสอบ เฝ้าติดตาม วินิจฉัยปัญหาสำหรับอุปกรณ์ไฟฟ้าแรงสูง ฟ้าผ่าและการป้องกัน
Work
ปัจจุบันทำงานที่ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
หัวข้อ "ไฟฟ้าแรงสูง: เรื่องใกล้ตัวที่ควรรู้"
- Invited Speakers
-
The High-Gain Beamforming for the Fifth-Generation of Mobile Communication System (5G)
การสื่อสารด้วยบีม ก้าวต่อไปแห่งการสื่อสารไร้สายสำหรับยุคหน้า (5G) - การเสวนา
-
ผู้ดำเนินรายการ ดร.นฤดม นวลขาว (มว.)
Special Sessions
- การประยุกต์ใช้งานทางแม่เหล็กไฟฟ้าสำหรับเทคโนโลยียุคใหม่
- เทคโนโลยีการวัดสำหรับอุตสาหกรรมศักยภาพ S-CURVE
- การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์ใช้งาน IoT
- นวัตกรรมสำหรับการต่อสู้อาชญากรรม
- การประยุกต์ใช้การประมวลผลสัญญาณและภาพสำหรับนวัตกรรมทางการแพทย์ 4.0
- เทคโนโลยีขั้นสูงเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
- ความก้าวหน้าในการประยุกต์ใช้งานระบบและการควบคุม
- การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้ากับภาคอุตสาหกรรม
- ข้อมูลขนาดใหญ่กับการเรียนรู้ของเครื่องและการเรียนรู้เชิงลึก
- การประยุกต์วิทยาการหุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์
- การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเชิงประยุกต์
- นวัตกรรมทางเทคโนโลยีในเชิงไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
- หัวข้ออื่นๆ
รายชื่อบทความใน session:
1. กลยุทธ์การอ่านข้อมูลหลายแทร็กด้วยหัวอ่านเดียวในระบบการบันทึกข้อมูลเชิงแม่เหล็กบิตแพทเทิร์นมีเดีย
2. การจำลองและการตรวจสอบการถ่ายเทความร้อนในแท่งความร้อนสำหรับโรงงานฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์
3. การสร้างและทดสอบประสิทธิภาพเครื่องสูบน้ำแอร์เวย์พลังงานแสงอาทิตย์
4. ชุดทดลองการพัฒนาทักษะการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการ เรื่อง การติดตั้งจานรับสัญญาณดาวเทียม ระบบ Ku-Band
5. ชุดฝึกทดลองการพัฒนาทักษะการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการเรื่อง ระบบเครื่องเสียงรถยนต์
Registration
อัตราค่าลงทะเบียนสำหรับการประชุมวิชาการ ECTI-CARD 2018
Early-bird Registration* | On-site Registration** | |
Regular*** (บุคคลทั่วไป อาจารย์ และนักวิจัย) | 5,500 บาท | 6,000 บาท |
Regular (บุคคลทั่วไป อาจารย์ และนักวิจัย ที่เป็นสมาชิกสมาคม ECTI) ประเภทสามัญ | 5,000 บาท | 5,500 บาท |
Student**** (นักเรียน นิสิต นักศึกษา) | 3,800 บาท | 4,300 บาท |
Student (นักเรียน นิสิต นักศึกษา ที่เป็นสมาชิกสมาคม ECTI) ประเภทนักศึกษา | 3,500 บาท | 4,000 บาท |
Accompany (ผู้ติดตาม ผู้สนใจที่ไม่ได้เป็นผู้แต่งบทความ) | 3,000 บาท | 3,500 บาท |
* Early-bird Registration: ลงทะเบียนและชำระค่าลงทะเบียนภายในวันที่ 1 พฤษภาคม 2561
** On-site Registration:
ลงทะเบียนและชำระค่าลงทะเบียนระหว่างวันที่ 2 พฤษภาคม 2561 ถึง วันที่ 29 มิถุนายน 2561
พิเศษ!!!
- *** สำหรับผู้ลงทะเบียนประเภท Regular ที่ไม่ได้เป็นสมาชิกสมาคม ECTI รับสิทธิ์เป็นสมาชิก ECTI Member ฟรี 2 ปี!!!
- **** สำหรับผู้ลงทะเบียนประเภท Student ที่ไม่ได้เป็นสมาชิกสมาคม ECTI รับสิทธิ์เป็นสมาชิก ECTI Student Member ฟรี 2 ปี!!!
หมายเหตุ
- ทุกบทความที่ได้รับการตอบรับให้นำเสนอในการประชุมวิชาการ จะต้องลงทะเบียนและชำระค่าลงทะเบียน (Regular หรือ Student) ภายในวันที่ 1 พฤษภาคม 2561 เพื่อยืนยันการเข้าร่วมนำเสนอบทความและตีพิมพ์ลงใน Proceeding
- Regular, Regular (ECTI-Member), Student, Student (ECTI-Student-Member) สามารถเข้าร่วมการนำเสนอผลงาน ชมการสาธิตผลงานและงานแสดงต่างๆ และจะได้รับ Abstract Proceeding, Coffee-break, Lunch, Welcome reception (27 มิ.ย. 2561), Dinner banquet (28 มิ.ย. 2561)
- Accompany สามารถเข้าร่วมฟังการนำเสนอผลงาน ชมการสาธิตผลงานและงานแสดงต่างๆ และจะได้รับ Coffee-break, Lunch, Welcome reception (27 มิ.ย. 2561), Dinner banquet (28 มิ.ย. 2561)
- บัตรเพิ่มเติมสำหรับ Dinner banquet สามารถติดต่อซื้อได้ที่โต๊ะลงทะเบียนในวันงาน (เด็กความสูงน้อยกว่า 120 ซม. ไม่ต้องใช้บัตร Dinner banquet)